การตรวจสอบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง -1.ถนอมผิว

การตรวจสอบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง โดยใช้แสงแดด และแสงอื่นๆ (Photo Stability of Cosmetic Product)    

ปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางมีความนิยมกันหลากหลายประเภทของผลิตภัณฑ์ และการนำไปใช้ได้ผลดังสรรพคุณตามที่ได้โฆษณาไว้หรือไม่ ลูกค้าจะเป็นผู้ให้คำตอบ

การตรวจสอบอายุการใช้ และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางก็มีความสำคัญมาก พอๆกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่นกันโดยในการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และอายุการเก็บรักษามีมาตรฐานสากลต่างๆ เช่น Colipa Standard , ISO 24443 หรือ Boots Star เป็นต้น

ทั้งผลิตภัณฑ์ แบบ ถนอมผิวพรรณ (Skincare) , ถนอมรักษาผิวหน้า (Facial Care) ครีมกันแดด (Sun Screen) ควรจะต้องให้ความสำคัญในเรื่องของอายุการเก็บรักษาของสินค้าเพื่อประสิทธิภาพของการใช้งานได้ดี ตลอดช่วงของการใช้

รวมทั้งกลุ่มของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ดูแลสุขภาพผิวหน้า เช่น

  • Cleaning Agent
  • Foam
  • Moisturizer
  • Essence
  • Day Cream ( Night Cream – สลับใช้ในช่วงก่อนนอน )

Sun-Screen

ผลิตภัณฑ์แบบถนอมผิวพรรณ (Skin Care & Personal Care)

มีทั้งผลิตภัณฑ์ที่เป็นแบบ moisturizer หรือ บำรุงผิวผลิตภัณฑ์ประเภทแบบนี้ ขึ้นอยู่กับสภาพผิวของแต่ละบุคคล ทั้งผิวแห้ง , ผิวมัน , รูขุมขนกว้าง-แคบ , ผิวแพ้ง่ายและอื่นๆ

โดยมาตรฐานในการทดลอง และทดสอบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์มีขั้นตอนดังนี้

  1. การทดสอบความคงทนต่อแสงในห้องปฏิบัติการ (In-Laboratory Photo-Stability Test)
    • วัตถุประสงค์ (Purpose)

ทดสอบเพื่อจำลองสภาวะ และเร่งการเสื่อมสภาพของผลิตภัณฑ์ ลดระยะเวลาการทดสอบ สามารถนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดได้เร็วขึ้น โดยมีข้อมูลที่ถูกต้อง และแม่นยำสามารถทวนสอบกลับได้ สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค

  • เครื่องมือ และอุปกรณ์ (Equipment & Apparatus)
  • Q-Sun Xe1 BCE , Q-Sun Xe3 HCE
  • Standard Optical Filter :         Daylight Q Filter (295-800 nm)
  • Control Point :         TUV (300-400 nm)
  • Condition :         irradiance ~ 56 w/m2

(300-400 nm)(45-60)

เทียบเท่ากับความเข้มแสง (irradiance) 550 w/m2 @ 300-800 nm

  • Temperature = Chamber Air Temperature ~ 35 C°
  • BPT ≤       45 C°

 

  • การทดสอบ (Experiment)

ทำการทดสอบตัวอย่าง อย่างน้อย 2 ตัวอย่าง ต่อ ผลิตภัณฑ์เพื่อการดูการทำซ้ำ (Reproducibility) ของผลการทดสอบ

การดึงตัวอย่างออกมาเพื่อทำการทดสอบดูค่าต่างๆ

  • 6 ชั่งโมง (hr)
  • 12 ชั่งโมง (hr)
  • 18 ชั่งโมง (hr)
  • 24 ชั่งโมง (hr)

การทดสอบดูค่าต่างๆ ดังนี้

  1. Color Fading

– Total Color Difference ,    DE*    0.00 – 0.40   Excellent

DE*    0.40 – 0.80   Good

DE*    0.80 – 1.20   Moderate

DE*    ≥       1.20   Fail

  1. Odor
  2. Texture
  3. pH value
  4. Viscosity
  • สรุปผลการทดสอบ (Conclusion)

– การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพต่างๆ เพื่อนตรวจสอบประสิทธิภาพความคงตัวของผลิตภัณฑ์จากแสงแดด (Photo-Stability) และ มีความเข้าใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้ในการปรับปรุงสูตรของผลิตภัณฑ์นั้นๆ

 

  1. การทดสอบความคงทนต่อแสงในสภาพจริงๆ (Outdoor exposure)

2.1 วัตถุประสงค์ (purpose)

– เพื่อต้องการ หาความคงทนต่อแสงแดดในสภาวะจริง โดยจำลองทั้ง

แสงแดดแบบในร่ม (Indoor Daylight, ID65) หรือแสงแดดแบบภายนอก

อาคาร (Outdoor Daylight, D65)

– และเพื่อต้องการหาความสัมพันธ์ ของระยะเวลาและการเสื่อมสภาพของ

ตัวอย่างทั้งในสภาวะเร่ง และสภาวะการตากแดดจริง ว่ามีค่าอัตราเร่ง (Accelerated Factor) อยู่ที่เท่าไหร่ ?

2.2 เครื่องมือ & อุปกรณ์ (Apparatus)

อ้างอิงตามมาตรฐานสากล ASTM G151, ASTM G7, ISO 877, ISO

2610 โดยวางตำแหน่งของตัวอย่างดังนี้

2.3 การทดสอบ (Experiment)

ทำการทดสอบตัวอย่าง อย่างน้อย 2 ตัวอย่างต่อผลิตภัณฑ์ เพื่อการดูค่า

การทำซ้ำ (Reproducibility) ของผลการทดสอบ

การดึงตัวอย่าง เพื่อ ทำการทดสอบดูค่าต่างๆ

– 1      สัปดาห์ (week)

– 2      สัปดาห์ (week)

– 3      สัปดาห์ (week)

– 4      สัปดาห์ (week)

การทดสอบดูค่าต่างๆ ดังนี้

  1. Color Fading

– Total Color Difference ,    DE*    0.00 – 0.40   Excellent

DE*    0.40 – 0.80   Good

DE*    0.80 – 1.20   Moderate

DE*    ≥       1.20   Fail

  1. Odor
  2. Texture
  3. pH value
  4. Viscosity
  • สรุปผลการทดสอบ (Conclusion)

– การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพต่างๆ เพื่อนตรวจสอบประสิทธิภาพความคงตัวของผลิตภัณฑ์จากแสงแดด (Photo-Stability) และ มีความเข้าใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้ในการปรับปรุงสูตรของผลิตภัณฑ์นั้นๆ

– และค่าอัตราเร่ง (Accelerate Factor) คือ

  1. รวมทั้งการทดสอบความคงทนของผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ (Stability Test)

3.1 Fluorescent Lamp Test

3.2 Oven Chamber

– Temp 4 C°           ทดสอบ 3 เดือน                 ดึงตัวอย่างออกมาทุกๆ 1

– Temp 25 C° ± 2 C° ทดสอบ 3 เดือน               เดือน เพื่อทดสอบ Stability

– Temp 40 C°          ทดสอบ 3 เดือน                (ต่อ)

– Color Fading

– Odor

– Texture

– pH value

– Viscosity

– Temp 50 C°          ทดสอบ 1.5 เดือน    – ดึงตัวอย่างออกมาทุกๆ 2

สัปดาห์ เพื่อทดสอบ Stability

ยกเว้นตัวอย่างที่เป็น อิมัลชั่น (Emulsion) ต้องเพิ่มการทดสอบโดยใช้สภาวะใน

การทดสอบ

– Temperature Cycling Test

– Temp         – 10 C°         12 hr.

– Temp         + 40 C°        12 hr.

ทดสอบครบ 24 ชั่งโมงนับเป็น 1 cycle ให้ทดสอบอยู่ระหว่าง 5-7 cycles ขึ้นอยู่

กับระดับของคุณภาพของผลิตภัณฑ์นั้นๆ