ความมันวาวหรือความสว่างของพื้นผิว
ความมันวาวหรือความสว่างของพื้นผิวมีความสัมพันธ์กับความขรุขระหรือความหยาบของพื้นผิว คุณลักษณะนี้มีผลกระทบต่อลักษณะปรากฎของวัตถุและสามารถบอกปริมาณหรือจำนวนเหมือนกับคุณลักษณะที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
60o Gloss meter geometry นิยมใช้เพื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่มีความมันวาวปานกลาง และสามารถนำ 20o Gloss meter geometry หรือ 85o Gloss meter geometry มาปรับใช้ตามความเหมาะสมได้โดย 20o Gloss meter geometry ใช้เมื่อต้องการเปรียบเทียบตัวอย่างที่มีความมันวาวสูงกว่า 70 (เช่น ตัวอย่างที่มีความสว่างมาก) ส่วน 85o Gloss meter geometry ใช้สำหรับเปรียบเทียบตัวอย่างที่มีความมันวาวต่ำคือมีความมันวาวน้อยกว่า 10
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดความมันวาวต้องผ่านการเทียบมาตรฐานก่อนเพื่อที่จะเป็นตัวสร้างมั่นใจได้ว่าผลการวัดที่ออกมานั้นถูกต้อง ตัวมาตรฐานที่กล่าวมาข้างต้นจะทำการจับคู่หรือเปรียบเทียบค่า signal เพื่อบ่งชี้ค่ามาตรฐานทางกายภาพที่สามารถตรวจติดตามได้ มาตรฐานความมันวาวนี้แสดงถึง ความสม่ำเสมอของตัวอย่าง ความคงตัว ความทนทานและสามารถทำความสะอาดได้ ตามที่ได้ปฏิบัติมา สเกลมาตรฐานต่ำสุด(0)จัดตั้งด้วย ตัวรับแสง….อย่างไรก็ตามมีหน่วยวัดความมันวาวอีกมากที่set สเกลมาตรฐานต่ำสุดโดย block เครื่องตรวจจับ สเกลมาตรฐานสูงสุด(100)โดยปกติแล้วset ด้วย black glass